การแพร่ |
กลไกการลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์มี 3 แบบคือ
1. การแพร่ (DIFFUSION)
2. การลำเลียงแบบแอกทีฟทรานสปอร์ต (ACTIVE TRANSPORT)
3. การลำเลียงโดยการสร้างถุงจากเยื่อหุ้มเซลล์(BULK TRANSPORT)
2. การลำเลียงแบบแอกทีฟทรานสปอร์ต (ACTIVE TRANSPORT)
3. การลำเลียงโดยการสร้างถุงจากเยื่อหุ้มเซลล์(BULK TRANSPORT)
การแพร่
การแพร่ คือ การเคลื่อนย้ายของโมเลกุลสารจากบริเวณที่มีความหนาแน่นของโมเลกุลของสารนั้นสูง ไปยังบริเวณที่มีความหนาแน่นของโมเลกุลสารนั่นต่ำ แบ่งเป็น
- การแพร่แบบธรรมดา คือ การที่อนุภาคของสารเคลื่อนที่กระจัดกระจายไปในตัวกลางทุกทิศทุกทาง จนกระทั่งเข้าสู่สภาวะสมดุล
- ออสโมซิส(OSMOSIS) คือการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของน้ำผ่านเยื่อเลือกผ่าน จากบริเวณที่มีความเข้มข้นน้ำน้อย
- การแพร่แบบธรรมดา คือ การที่อนุภาคของสารเคลื่อนที่กระจัดกระจายไปในตัวกลางทุกทิศทุกทาง จนกระทั่งเข้าสู่สภาวะสมดุล
- ออสโมซิส(OSMOSIS) คือการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของน้ำผ่านเยื่อเลือกผ่าน จากบริเวณที่มีความเข้มข้นน้ำน้อย
ข้อสังเกต บริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูง จะมีความเข้มข้นของน้ำต่ำ บริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่ำจะมีความเข้มข้นน้ำสูง
สารละลายแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
1. สารละลายไฮเปอร์โทนิก(HYPERTONIC SOLUTION) คือสารละลายที่มีความเข้มสูงกว่าสารละลายภายในเซลล์
2. สารละลายไฮโปโทนิก(HYPOTONIC SOLUTION) หมายถึง สารละลายที่มีความเข้มข้นต่ำกว่าความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์
3. สารละลายไอโซโทนิก(ISOTONIC SOLUTION) คือสารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากับสารละลายภายในเซลล์
ข้อควรจำ
1. สารละลายไฮเปอร์โทนิก(HYPERTONIC SOLUTION) คือสารละลายที่มีความเข้มสูงกว่าสารละลายภายในเซลล์
2. สารละลายไฮโปโทนิก(HYPOTONIC SOLUTION) หมายถึง สารละลายที่มีความเข้มข้นต่ำกว่าความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์
3. สารละลายไอโซโทนิก(ISOTONIC SOLUTION) คือสารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากับสารละลายภายในเซลล์
ข้อควรจำ
- พลาสโมไลซิส(PLASMOLYSIS) เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อเซลล์อยู่ในสารละลายไฮเปอร์โท
นิก โดยน้ำจากภายในเซลล์จะออสโมซิสผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ออกมาภายนอก ทำให้เซลล์เหี่ยว
- พลาสมอปไทซิส (PLASMOPTYSIS) เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อเซลล์อยู่ในสารละลายไฮโปโทนิก โดยน้ำจะออสโมซิสเข้าสู่เซลล์ทำให้เซลล์เต่งขึ้น
1. การแพร่แบบฟาซิลิเทต (FACILITATED DIFFUSION)
เป็นการนำสารเข้าสู่เซลล์ด้วยการทำงานของโปรตีนซึ่งเรียกว่า ตัวพา(CARRIER) ที่แทรกอยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์มีทิศทางจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารมากไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารนั้นน้อย
2. การลำเลียงแบบแอกทีฟทรานสปอร์ต (ACTIVE TRANSPORT)
เป็นการลำเลียงสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารน้อยไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารมาก โดยเซลล์นำพลังงานที่ได้จากการสลายสารอาหารมาใช้เพื่อเอาชนะแรงผลักดันที่เกิดจากความแตกต่างระหว่างความเข้มข้นของสาร
3. การลำเลียงโดยการสร้างถุงจากเยื่อหุ้มเซลล์(BULK TRANSPORT)
3.1 เอกโซไซโทซิส เป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ่ออกจากเซลล์โดยการสร้างถุง(VESICLE) ขึ้นภายในเซลล์
3.2 เอนโดไซโทซิสเป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์
- ฟาโกโซโทซิส เป็นการยื่นส่วนของเซลล์ ซึ่งเรียกว่าเท้าเทียม(PSEUDOPODIUM) ออกมาล้อมอนุภาคของสารที่มีขนาดใหญ่ในรูปของแข็ง ก่อนที่จะนำเข้าสู่เซลล์พบได้ในเซลล์จำพวกอะมีบาและเม็ดเลือดขาว
- ฟิโนไซโทซิส เป็นการนำสารขนาดใหญ่ที่อยู่ในรูปของสารละลายเข้าสู่เซลล์ โดยการคอดเว้าของเยื่อหุ้มเซลล์
ข้อควรจำ
- พลาสมอปไทซิส (PLASMOPTYSIS) เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อเซลล์อยู่ในสารละลายไฮโปโทนิก โดยน้ำจะออสโมซิสเข้าสู่เซลล์ทำให้เซลล์เต่งขึ้น
1. การแพร่แบบฟาซิลิเทต (FACILITATED DIFFUSION)
เป็นการนำสารเข้าสู่เซลล์ด้วยการทำงานของโปรตีนซึ่งเรียกว่า ตัวพา(CARRIER) ที่แทรกอยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์มีทิศทางจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารมากไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารนั้นน้อย
2. การลำเลียงแบบแอกทีฟทรานสปอร์ต (ACTIVE TRANSPORT)
เป็นการลำเลียงสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารน้อยไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารมาก โดยเซลล์นำพลังงานที่ได้จากการสลายสารอาหารมาใช้เพื่อเอาชนะแรงผลักดันที่เกิดจากความแตกต่างระหว่างความเข้มข้นของสาร
3. การลำเลียงโดยการสร้างถุงจากเยื่อหุ้มเซลล์(BULK TRANSPORT)
3.1 เอกโซไซโทซิส เป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ่ออกจากเซลล์โดยการสร้างถุง(VESICLE) ขึ้นภายในเซลล์
3.2 เอนโดไซโทซิสเป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์
- ฟาโกโซโทซิส เป็นการยื่นส่วนของเซลล์ ซึ่งเรียกว่าเท้าเทียม(PSEUDOPODIUM) ออกมาล้อมอนุภาคของสารที่มีขนาดใหญ่ในรูปของแข็ง ก่อนที่จะนำเข้าสู่เซลล์พบได้ในเซลล์จำพวกอะมีบาและเม็ดเลือดขาว
- ฟิโนไซโทซิส เป็นการนำสารขนาดใหญ่ที่อยู่ในรูปของสารละลายเข้าสู่เซลล์ โดยการคอดเว้าของเยื่อหุ้มเซลล์
ข้อควรจำ
EXOCYTOSIS เป็นขบวนการขับหรือหลั่งสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่เช่นฮอร์โมน หรือเอนไซม์ออกจากเซลล์ จึงพบมากในเซลล์ของตับอ่อนและเซลล์ประสาทซึ่งสามารถหลั่งฮอร์โมนได้